ในโบราณกาล
มีเมืองที่ใหญ่เมืองหนึ่งชื่อ กรุงธรรมปุระ พระราชาทรงพระนามว่า ท้าวมหาพล
มีพระมเหสีที่ทรงสิริโฉมงดงามแม้มีพระราชธิดาที่ทรงเจริญวัยแล้ว
ต่อมาได้เกิดศึกสงครามทหารของท้าวเอาใจออกห่าง ทำให้ทรงพ่ายแพ้
พระองค์จึงทรงพาพระมเหสีและพระราชธิดาหลบหนีออกจากเมืองเพื่อไปเมืองเดิมของพระมเหสี
ในระหว่างทางท้าวมหาพลได้ถูกโจรรุมทำอ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559
คำศัพท์จากเรื่องอิเหนา
กระยาหงัน
|
วิมาน สวรรค์ชั้นฟ้า
| ||
กะระตะ
|
เร่งม้า
| ||
กั้นหยั่น
|
อาวุธสำหรับเหน็บติดตัว
| ||
กิดาหยัน
|
ผู้มีหน้าที่รับใช้ใกล้ชิดพระมหากษัตริย์
| ||
กิริณี
|
ช้าง
| ||
แก้วพุกาม
|
แก้วอันมีค่าจากเมืองพุกามในพม่า
| ||
เขนง
|
เขาสัตว์สำหรับใส่ดินปืน
| ||
คับแคบ
|
ชื่อนกชนิดหนึ่งเป็นนกเป็ดน้ำที่มีขนาดเล็กที่สุด
| ||
เค้าโมง
|
ชื่อนกมีหลายชนิดหากินเวลากลางคืน เค้า หรือ ฮูก ก็เรียก
| ||
แค
|
ชื่อต้นไม้ดอกมีสีขาวและแดง ยอดอ่อนและฝักกินได้
| ||
งาแซง
|
ไม่เสี้ยมปลายแหลม วางเอนเรียงเป็นลำดับสำหรับป้องกัน
| ||
จากพราก
|
ชื่อนกในวงศ์นกเป็ดน้ำ ในวรรณคดีนิยมว่าคู่ของนกชนิดนี้ว่าต้องพรากและครวญถึงกันในเวลากลางคืน
| ||
เจียระบาด
|
ผ้าคาดเอวชนิดหนึ่ง มีชายห้อยที่หน้าขา
| ||
ชนัก
|
เครื่องผูกคอช้าง ทำด้วยเชือกมีปมหรือห่วงห้อยพาดลงมาเพื่อให้คนที่ขี่ใช้หัวแม่เท้าคีบกันตก
| ||
ชมพูนุช
| |||
ชักปีกกา
|
รูปกองทัพที่ตั้ง มีกองขวา กองซ้ายคล้ายปีก
| ||
ชาลี
|
ตาข่าย
| ||
ชังคลอง
|
แย่งทางที่ตนจะได้เปรียบ
| ||
เช็ดหน้า
|
ผ้าเช็ดหน้า
| ||
ดะหมัง
|
เสนาผู้ใหญ่
| ||
ตระเวนไพร
|
ชื่อของนกชนิดหนึ่ง ชอบหากินเป็นฝูง
| ||
ตรัสเตร็จ
|
สว่างแจ้ง สวยงาม
| ||
ตาด
|
ผ้าทอด้วยไหมควบเส้นเงินหรือเส้นทอง
| ||
ตำมะหงง
|
เสนาผู้ใหญ่
| ||
ตุนาหงัน
|
หมั้น
| ||
เต่าร้าง
|
ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ต้นคล้ายต้นหมาก ผลทะลายเป็นพวง
| ||
ไถ้
|
ถุงสำหรับคาดเอวนำติดตัวไปที่ต่างๆ
| ||
ธงฉาน
|
ธงนำกระบวนการ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม
| ||
ธงชาย
|
ธงมีชายเป็นรูปสามเหลี่ยม
| ||
นามครุฑา
|
ชื่อการตั้งค่ายกองทัพตามตำราพิชัยสงคราม
| ||
แน่นนันต์
|
มากมาย
| ||
บุหรง
|
นกยูง
| ||
เบญจวรรณ
|
นกแก้ว ขนาดใหญ่มีหลายสี
| ||
ประเสบัน
|
ที่พักเจ้านาย
| ||
ปาเตะ
|
ชื่อตำแหน่งขุนนาง
| ||
ปืนตับ
|
ปืนหลายกระบอกเรียงกันเป็นตับ
| ||
พลขันธ์
|
กองกำลังทหาร
| ||
พันตู
|
ต่อสู้ติดพัน
| ||
โพยมบน
|
ท้องฟ้าเบื้องบน
| ||
ไพชยนต์
|
ชื่อรถหรือวิมานของพระอินทร์ ใช้เรียกที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน
| ||
เฟื่อง
|
เครื่องห้อยโยงตามช่องหน้าต่างเพื่อประดับให้งาม
| ||
ภัสม์ธุลี
|
ผง ฝุ่น ละออง
| ||
มณฑก
|
เรียกปืนเล็กยาวชนิดหนึ่งว่า ปืนมณฑก
| ||
ประวัติผู้แต่งอิเหนา
อิเหนาเป็นบทละครรำพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมหาราช
รัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี ตลอดระยะเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์
เป็นสมัยที่วรรณคดีเจริญที่สุดในสมัยนี้หลาย เรื่องได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของวรอ่านเพิ่มเติม
คุณค่าด้านกลวิธีการแต่ง
๑.
การเลือกสรรคำเหมาะกับเนื้อเรื่อง
กวีเลือกสรรถ้อยคำนำมาใช้ได้อย่างไพเราะเหมาะสม
๒.
การเลือกสรรคำที่มีเสียงเสนาะ กวีใช้ความงามและเสียงเสนาะในการอ่าน
นอกเสียงโดยการใช้สัมผัสอักษรละสัมผัสสระ ได้แก่ สัมผัส การเล่นคำ
๓. ภาพพจน์ กวีใช้การเปรียบเทียบแบบอุปมาเพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพชัดเจนขึ้นอ่านเพิ่มเติม
ตัวอย่างโครงสี่สุภาพ
ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
คำราชาศัพท์
ราชาศัพท์ คือ คำสุภาพที่ใช้ให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคลต่างๆ คำราชาศัพท์เป็นการกำหนดคำและภาษาที่สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมอันดีงามของไทย แม้คำราชาศัพท์จะมีโอกาสใช้ในชีวิตน้อย แต่เป็นสิ่งที่แสดงถึงความละเอียดอ่อนของภาษาไทยที่มีคำหอ่านเพิ่มเติม
บทที่4 เรื่อง นิราศนริทร์คำโคลง
นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย
ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาอ่านเพิ่มเติม
บทที่3 เรื่อง นิทานเวตาล(เรื่องที่10)
นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ
มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย
โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณอ่านเพิ่มเติม
บทที่2 เรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ
เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ
และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี
ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ
แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาวชวา เอกสารที่เกี่ยวข้องมีดังนี้อ่านเพิ่มเติม
บทที่1 คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร
(น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย
ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสมอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)