วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559

เรื่องย่อเรื่องย่อนิทานเวตาล

  ในโบราณกาล มีเมืองที่ใหญ่เมืองหนึ่งชื่อ กรุงธรรมปุระ พระราชาทรงพระนามว่า ท้าวมหาพล มีพระมเหสีที่ทรงสิริโฉมงดงามแม้มีพระราชธิดาที่ทรงเจริญวัยแล้ว ต่อมาได้เกิดศึกสงครามทหารของท้าวเอาใจออกห่าง ทำให้ทรงพ่ายแพ้ พระองค์จึงทรงพาพระมเหสีและพระราชธิดาหลบหนีออกจากเมืองเพื่อไปเมืองเดิมของพระมเหสี ในระหว่างทางท้าวมหาพลได้ถูกโจรรุมทำอ่านเพิ่มเติม

คำศัพท์จากเรื่องอิเหนา

กระยาหงัน
วิมาน  สวรรค์ชั้นฟ้า
กะระตะ
เร่งม้า
กั้นหยั่น
อาวุธสำหรับเหน็บติดตัว
กิดาหยัน
ผู้มีหน้าที่รับใช้ใกล้ชิดพระมหากษัตริย์
กิริณี
ช้าง
แก้วพุกาม
แก้วอันมีค่าจากเมืองพุกามในพม่า
เขนง
เขาสัตว์สำหรับใส่ดินปืน
คับแคบ
ชื่อนกชนิดหนึ่งเป็นนกเป็ดน้ำที่มีขนาดเล็กที่สุด
เค้าโมง
ชื่อนกมีหลายชนิดหากินเวลากลางคืน เค้า หรือ ฮูก ก็เรียก
แค
ชื่อต้นไม้ดอกมีสีขาวและแดง ยอดอ่อนและฝักกินได้
งาแซง
ไม่เสี้ยมปลายแหลม วางเอนเรียงเป็นลำดับสำหรับป้องกัน
จากพราก
ชื่อนกในวงศ์นกเป็ดน้ำ ในวรรณคดีนิยมว่าคู่ของนกชนิดนี้ว่าต้องพรากและครวญถึงกันในเวลากลางคืน
เจียระบาด
ผ้าคาดเอวชนิดหนึ่ง มีชายห้อยที่หน้าขา
ชนัก
เครื่องผูกคอช้าง ทำด้วยเชือกมีปมหรือห่วงห้อยพาดลงมาเพื่อให้คนที่ขี่ใช้หัวแม่เท้าคีบกันตก
ชมพูนุช

ชักปีกกา
รูปกองทัพที่ตั้ง มีกองขวา กองซ้ายคล้ายปีก
ชาลี
ตาข่าย
ชังคลอง
แย่งทางที่ตนจะได้เปรียบ
เช็ดหน้า
ผ้าเช็ดหน้า
ดะหมัง
เสนาผู้ใหญ่
ตระเวนไพร
ชื่อของนกชนิดหนึ่ง ชอบหากินเป็นฝูง
ตรัสเตร็จ
สว่างแจ้ง สวยงาม
ตาด
ผ้าทอด้วยไหมควบเส้นเงินหรือเส้นทอง
ตำมะหงง
เสนาผู้ใหญ่
ตุนาหงัน
หมั้น
เต่าร้าง
ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ต้นคล้ายต้นหมาก ผลทะลายเป็นพวง
ไถ้
ถุงสำหรับคาดเอวนำติดตัวไปที่ต่างๆ
ธงฉาน
ธงนำกระบวนการ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม
ธงชาย
ธงมีชายเป็นรูปสามเหลี่ยม
นามครุฑา
ชื่อการตั้งค่ายกองทัพตามตำราพิชัยสงคราม
แน่นนันต์
มากมาย
บุหรง
นกยูง
เบญจวรรณ
นกแก้ว ขนาดใหญ่มีหลายสี
ประเสบัน
ที่พักเจ้านาย
ปาเตะ
ชื่อตำแหน่งขุนนาง
ปืนตับ
ปืนหลายกระบอกเรียงกันเป็นตับ
พลขันธ์
กองกำลังทหาร
พันตู
ต่อสู้ติดพัน
โพยมบน
ท้องฟ้าเบื้องบน
ไพชยนต์
ชื่อรถหรือวิมานของพระอินทร์ ใช้เรียกที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน
เฟื่อง
เครื่องห้อยโยงตามช่องหน้าต่างเพื่อประดับให้งาม
ภัสม์ธุลี
ผง ฝุ่น ละออง
มณฑก
เรียกปืนเล็กยาวชนิดหนึ่งว่า ปืนมณฑก


ประวัติผู้แต่งอิเหนา

อิเหนาเป็นบทละครรำพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมหาราช รัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี ตลอดระยะเวลาที่พระองค์ทรงครองราชย์ เป็นสมัยที่วรรณคดีเจริญที่สุดในสมัยนี้หลาย เรื่องได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของวรอ่านเพิ่มเติม

คุณค่าด้านกลวิธีการแต่ง

๑.     การเลือกสรรคำเหมาะกับเนื้อเรื่อง กวีเลือกสรรถ้อยคำนำมาใช้ได้อย่างไพเราะเหมาะสม
๒.   การเลือกสรรคำที่มีเสียงเสนาะ กวีใช้ความงามและเสียงเสนาะในการอ่าน นอกเสียงโดยการใช้สัมผัสอักษรละสัมผัสสระ ได้แก่ สัมผัส การเล่นคำ

๓.    ภาพพจน์ กวีใช้การเปรียบเทียบแบบอุปมาเพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพชัดเจนขึ้นอ่านเพิ่มเติม

ตัวอย่างโครงสี่สุภาพ

           ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ   

คำราชาศัพท์

ราชาศัพท์ คือ คำสุภาพที่ใช้ให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคลต่างๆ คำราชาศัพท์เป็นการกำหนดคำและภาษาที่สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมอันดีงามของไทย แม้คำราชาศัพท์จะมีโอกาสใช้ในชีวิตน้อย แต่เป็นสิ่งที่แสดงถึงความละเอียดอ่อนของภาษาไทยที่มีคำหอ่านเพิ่มเติม

บทที่4 เรื่อง นิราศนริทร์คำโคลง

นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาอ่านเพิ่มเติม